ReadyPlanet.com
เชื้อราภัยใกล้ตัวที่ไม่อาจมองข้ามอาจถึงชีวิต

เชื้อรา
เชื้อราเป็นเชื้อที่พบในธรรมชาติสามารถพบได้ทั้งในบ้านและนอกบ้าน หน้าที่สำคัญของเชื้อรานอกบ้านคือการสลายของเสีย เช่นใบไม้ ต้นไม่ หรือขยะ ส่วนเชื้อราที่อยู่ในบ้านเราไม่อยากให้มันเกิดเพราะว่าเชื้อราสามารถสร้างสารพิษ Toxin หรือตัวเชื้อราสร้างสปอร์ทำให้เกิดโรคภูมิแพ้ เช่น โรคหอบหืด ไวนัสอักเสบเป็นต้น
 
เชื้อราก่อให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพอย่างไร
เชื้อราที่อยู่ในบ้านมักจะไม่อันตราย แต่สปอร์ Spore ของมันจะทำให้เกิดผลเสีต่อสุขภาพเช่น
·         ปฏิกิริยาภูมิแพ้ Allergic Reactions เมื่อได้รับสปอร์ได้แก่อาการ ไข้ บางคนมีอาการจาม น้ำมูกไหล หากสัมผัสบ่อยๆก็อาจจะเกิดปฏิกิริยาภูมิแพ้หนักถึงกับเสียชีวิต
·         โรคหอบหืด
·         ปอดอักเสบจากภูมิแพ้ Hypersensitivity Pneumonitis
·         ก่อให้เกิดระคายเคืองต่อตา จมูก หลอดลม ทำให้เกิดอาการปวดแสบปวดร้อน
·         ก่อให้เกิดสารพิษ
 
สำหรับผู้ที่แพ้ราเมื่อได้สัมผัสเชื้อราทั้งทางสัมผัส การสูดดมอาจจะก่อให้เกิดปฏิกิริยาภูมิแพ้ต่างๆ เช่น แพ้หญ้า Hay fever หอบหืด ผื่นแพ้ ตาอักเสบ เจ็บคอ น้ำมูกไหล
 
เราจะกำจัดเชื้อรานี้ได้อย่างไร
เนื่องจากเชื้อราเราพบได้ตามธรรมชาติเราไม่สามารถกำจัดได้หมด แต่เราสามารถป้องกันมิให้เชื้อเจริญเติบโตโดยการควบคุมความชื้นในบ้าน เมื่อคุณพบเชื้อราในบ้าน คุณต้องรีบกำจัดและหาสาเหตุโดยเฉพาะความชื้น หากคุณไม่แก้ก็จะเกิดเชื้อราขึ้นใหม่
 
 
ใครจะเป็นกำจัดเชื้อรา
เนื่องจากเชื้อราอาจจะก่อให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพดังได้กล่าวข้างต้น และการหาสาก็อาจจะมีความยุ่งยาก ดังนั้นหากพื้นที่ที่เป็นเชื้อราไม่มากก็อาจจะกำจัดเองได้ แต่หากเป็นพื้นที่กว้างก็อาจจะต้องอาศัยผู้ที่เชี่ยวชาญในการกำจัด ข้อแนะนำเกี่ยวกับการกำจัดเชื้อรา
 
·         หากบริเวณที่เป็นเชื้อราไม่มากขนาด 10 ตารางฟุตเราสามารถกำจัดเองได้
·         หากมีเชื้อราเป็นบริเวณกว้างและอาคารนั้นเป็นที่สาธารณะ เช่น โรงเรียน ห้างสรรพสินค้า โรงพยาบาล ก็ควรจะใช้บริการของมืออาชีพ
·         หากคุณใช้ผู้เชี่ยวชาญมืออาชีพต้องให้แน่ใจว่ามีความรู้และทักษะเพียงพอ และสามารถปฏิบัติตามข้อกำหนดได้
·         หากคุณพบว่ามีเชื้อราที่ระบบทำความเย็น ต้องหยุดใช้เครื่องปรับอากาศและปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ ซึ่งอาจจะต้องทำความสะอาดระบบท่อส่ง รวมทั้งหารอยรั่วที่ทำให้เกิดความชื้น
·         หากคุณคิดว่าเชื้อราเกิดจากความชื้นที่เกิดจากรอยรั่ว ควรจะปรึกษาช่างเพื่อจัดการรอยรั่วนั้น
·         หากคุณมีปัญหาสุขภาพ คุณควรจะอยู่ห่างๆในระหว่างที่มีการกำจัดเชื้อรา
 
วิธีกำจัดเชื้อรา
 วิธีที่นำเสนอนี้เป็นวิธีง่ายๆที่ทำได้ด้วยตัวเอง เมื่อเกิดเชื้อราขึ้นกับอุปกรณ์นั้นอาจจะทำให้เกิดรอยด่างบนอุปกรณ์นั้น
·         เมื่อเกิดรอยรั่วหรือชื้น รีบแก้ไขและรักษาอุกรณ์หรือบริเวณนั้นให้แห้งทันที
·         สำหรับวัสดุผิวแข็งให้ล้างบริเวณที่เป็นเชื้อราด้วยน้ำสบู่ และทำให้แห้ง
·         สำหรับพรม หรือฝ้า หรือวัสดุที่มีรู เมื่อเกิดเชื้อราให้โยนทิ้ง เพราะเราไม่สามารถทำความสะอาดเชื้อราที่อยู่ในรู
·         เมื่อมีเชื้อราที่ฝ้าต้องรีบกำจัด และอย่าอยู่ใกล้หรือสัมผัส
·         ไม่ควรทาสีบนอุปกรณ์ที่มีเชื้อรา เพราะไม่ใช่วิธีกำจัด ต้องทำความสะอาดเชื้อราก่อนและทำให้แห้ง แล้วจึงทาสีทับ
·         หากอุปกรณืที่มีเชื้อรามีราคาแพง หรือมีคุณค่าและไม่อยากทิ้ง ท่านสามารถปรึกษาผู้เชี่ยวชาญเพื่อซ่อมหรือกำจัดเชื้อราให้หมดไป
 
การป้องกันตัวเองระหว่างทำกำจัดเชื้อรา
·         สวมหน้ากากอนามัยชนิด N95 เพื่อป้องกันการหายใจเอาเชื้อราเข้าไป หรืออาจจะใช้หน้ากากที่มีคุณภาพสูงกว่า
·         ใสถุงมือยาวเป็ถุงมือยางเพื่อป้องกันเชื้อมาสัมผัส
·         ใส่แว่นตาป้องกันเชื้อกรเด็นเข้าตา
·         รู้ได้อย่างไรว่ากำจัดเชื้อราหมดไปแล้ว
 
ปัจจัยที่สำคัญคือต้องกำจัดแหล่งที่จะทำให้เกิดความชื้นเสียก่อน หากยังมีความชื้นอยู่ก็จะเกิดเชื้อราขึ้นใหม่
·         ดูด้วยตาไม่พบเชื้อราในบริเวณดังกล่าว หรือไม่มีกลิ่น
·         หลังจากจัดการเรียบร้อยแล้ว ให้หมั่นตรวจสอบว่ามีความชื้นหรือเชื้อราเกิดขึ้นหรือไม่
·         คนสามารถทำงานหรืออยู่บริเวณนั้นโดยที่ไม่เกิดปัญหาต่อสุขภาพ
 
การป้องกันความชื้น
เป็นหัวใจสำคัญในการป้องกันเชื้อราในบ้าน หรือที่ทำงาน
·         เมื่อเกิดความชื้นขึ้นในบ้านหรือที่ทำงานจะต้องแก้ไขรอยรั่วหรือซึมทันที และจะต้องจัดล้างหรือทำให้บริเวณที่เปียกชื้นให้แห้งโดยทันที หากปล่อยทิ้งเกิด 24 ชั่วโมงอาจจะทำให้เกิดเชื้อรา
·         จะต้องดูแลรางน้ำบริเวณหลังคามิให้มีสิ่งแปลอกปลอมที่จะขวางทางเดินของน้ำ
·         ตรวจสอบสนามหญ้าในบ้านว่ามีความลาดเอียงถูกต้องหรือไม่ เพื่มมิให้เกิดน้ำขังบริเวณบ้าน
·         ตรวจสอบเครื่องปรับอากาศว่าถาดรองน้ำมีสิ่งที่จะทำให้เกิดน้ำขังหรือไม่ และตรวจสอบสายระบายว่าอุดตันหรือไม่
·         รักษาความชื้นภายในบ้านให้ต่ำกว่า 60% อาจจะซื้อเครื่องมือตรวจความชื้น
·         หากคุณพบว่ามีคราบน้ำจับที่กระจก และรีบเช็ดให้แห้งพร้อมทั้งหาว่ามีน้ำรั่วที่ใดและให้รีบแก้ไข
·         วิธีการลดความชื้นภายในบ้าน
 
อุกรณ์ที่จะทำให้เกิดความชื้นให้เอาออกนอกบ้าน เช่น อย่าตากผ้าไว้ในบ้าน เตาต้มน้ำ ทำกับข้าว
ใช้เครื่องปรับอากาศ หรือเครื่องลดความชื้น
ใช้พัดลมดูดอากาศในห้องน้ำ หรือในห้องครัวเพื่อลดความชื้น
 
การป้องกันน้ำกลั่นตัวเป็นหยดน้ำ
·         ลดความชื้นภายในบ้าน
·         ให้อากาศภายในห้องถ่ายเทโดยการเปิดหน้าต่างหรือใช้พัดลมดูดอากาศ
·         เพิ่มอุณหภูมิห้อง
·         ใช้ผ้าพันวัสดุที่มีผิวเย็นเช่นโลหะ
·         การตรวจสอบเชื้อรา
 
โดยทั่วไปไม่จำเป็นต้องมีการนำไปตรวจสอบเชื้อ เพราะเราเห็นด้วยตา และกรรมวิธีตรวจสอบก็มีขั้นตอนมากมาย
การค้นเชื้อราในที่ลับ
·         เชื้อราขึ้นในที่ลับ
·         เชื้อราในท่อแอร์
·         เชื้อราที่wall paper
·         เชื้อราที่ผนัง
 
ห้องที่มีความชื้นแต่คุณไม่สามารถตรวจสอบว่ามีเชื้อรา ผู้ที่อยู่อาศัยมีปัญหาเกี่ยวกับภูมิแพ้ แต่ไม่สามารถตรวจสอบหาเชื้อราให้ถึงถึงเชื้อราในที่ลับในที่นี้หมายถึงบริเวณที่เรามิได้นึกถึงเช่น ใต้พรม ด้านบนของฝ้าเพดาน ใต้ wall paper ผนังด้านในของท่อแอร์ ฝาผนังเป็นต้น
 
เมื่อคุณสงสัยว่าจะมีเชื้อราซ่อนเร้นให้ปรึกษาผู้เชียวชาญเพื่อความปลอดภัยของตัวคุณเอง
 
การน้ำยาฆ่าเชื้อรา
โดยทั่วไปไม่แนะนำให้ใช้น้ำยาฆ่าเชื้อรา เพราะเราไม่สามารถห่าเชื้อได้หมด เราเพียงแต่แก้ไขเรื่องความชื้นเชื้อราก็ไม่สามารถเจริญเติบโต จะพิจารณาในกรณีที่ผู้อยู่อาศัยเป็นโรคที่มีภูมิคุ้มกันไม่ดี
 
แหล่งข้อมูล http://www.siamhealth.net
 
 
 

 




สุขภาพ

เทคนิคโพสต์ท่าให้ดูผอม แค่ขยับนิด ชีวิตก็เปลี่ยน ผอมลงเห็นๆ! article
ดูแลสุขภาพของลูกน้อยง่าย ๆ ด้วยอาหารเช้า
สารพัดวิธีรักษาไข้หวัดจากธรรมชาติ ดีจริงหรือไม่ เช็กด่วน
อาหารต้านมะเร็ง 5 ชนิด ทานป้องกันโรคร้าย
เคล็ดลับการดูแลผิว สำหรับทุก ๆ วัน article
10 สุดยอดเทคโนโลยีเพื่อความงาม
ขยี้ตาบ่อย ทำให้เกิดริ้วรอยจริงหรือ... ?
เทรนด์แต่งหน้า 2015 สไตล์ไหนมาแรง เช็กด่วน ! article
ผิวแห้ง กับพฤติกรรม 5 ข้อที่รู้แล้วเลี่ยงด่วน !
หลากข้อดีจาก เซ็กส์ ต่อสุขภาพที่ผู้ชายควรรู้
น้ำผึ้งล้างหน้าเวิร์คจริงป่ะ ? มาดูผลการทดลองกัน
แต่งหน้ารับปริญญาแบบไม่ง้อช่าง สวยด้วย ! ประหยัดด้วย !
ตะไคร้ กับ 3 ประโยชน์ที่ช่วยในเรื่องความงาม
น้ำนม กับ 5 คุณประโยชน์ช่วยผิวสวย
กินมะละกอผิวสวย สารพัดประโยชน์เนียนใสจากภายในสู่ภายนอก
มันฝรั่ง กับ 7 สูตรเด็ดบำรุงผิวพรรณและเส้นผม
เตรียมผิวพร้อมรับหน้าหนาว ด้วยหลายทริคสุดแจ๋ว article
กำจัดสิวแบบเร่งด่วน ด้วยวิธีธรรมชาติ article
7 ความเชื่อผิด ๆ เกี่ยวกับอาหารที่คนลดความอ้วนหลงเชื่อ
ไปเล่นโยคะหัวเราะกันเถอะ!
ถุงยาง แบบที่คุณผู้ชายต้องลอง
โยเกิร์ต กับ 6 คุณประโยชน์ในด้านความงาม article
สธ. สั่งทุกโรงพยาบาลสำรองเซรุ่มแก้พิษงู 7 ชนิด ช่วงหน้าฝน article
อีโบลา เจาะลึกไวรัสมรณะที่โลกหวาดกลัว
สีแดงกับสมอง ความเชื่อมโยงอันน่าอัศจรรย์ที่คุณไม่เคยรู้
ประโยชน์ของน้ำมะนาว ดื่มอุ่น ๆ ยามเช้า ดีแค่ไหนต้องพิสูจน์
อยากลดน้ำหนัก แต่ติดขนมหวาน ทำไงดี
5 อาหารดี ๆ ที่กินเยอะไป ก็ไม่ดีได้เหมือนกัน
ดูฟุตบอลโลกอย่างไร ไม่ทำร้ายสุขภาพ article
ผื่นยอดฮิตที่พบบ่อยในฤดูฝน article
โกรธเมื่อไร หลีกให้ไกล 10 พฤติกรรมนี้
9 สูตรลดน้ำหนัก วิธีลดความอ้วน สำหรับสาวอยากผอม article
สธ. เตือนกินไข่แมงดาทะเลเผา-ยำหน้าร้อนเสี่ยงตาย
หลากวิตามินพิชิตเบาหวาน หยุดน้ำตาลพุ่งสูง ก่อนสายเกินแก้
เทคนิคกินผักให้อร่อย ทั้งปลอดภัย ทั้งได้คุณค่า
อยากอ่อนเยาว์ดื่มนมถั่วเหลืองสิ
ผลไม้ลดน้ำหนัก 13 ตัวช่วย อยากหุ่นสวยกระชับห้ามพลาด
วิ่ง เริ่มจากความพร้อม สู่เส้นทางสุขภาพดี
ร้อนนี้กินอย่างไร เย็นทั้งกาย สุขทั้งใจ article
วิธีไล่ยุงแบบธรรมชาติ ด้วยมาตรการปลอดภัย article
รู้หรือไม่ ยาคุมฉุกเฉิน กินพร้อมกัน2เม็ดได้ article
รักอย่างไร ถึงเรียกว่า รักเป็น article
‘วิ่ง’ เริ่มจากความพร้อม สู่เส้นทางสุขภาพดี
12 ไอเดียเปลี่ยนน้ำแข็งแนวใหม่ให้ไฉไลกว่าเดิม article
ขนมหวานไทย ๆ เลือกกินอะไร ไม่ให้แคลอรี่พุ่งปรี๊ด article
เปิดปีเริ่ด ๆ ด้วย 6 วิธีสู่ความแฮปปี้กว่าเดิม
เคล็ดลับดูแลสุขภาพให้ห่างไกลไข้หวัดใหญ่
ใช้ชีวิตอย่างไร ให้หัวใจแข็งแรง
ร่างกาย-รถ-อุปกรณ์พร้อม...เพิ่มความปลอดภัยในการเดินทาง article
วาซาบิความเผ็ดที่มีประโยชน์
ไวรัสโรต้า" ระบาดหน้าหนาว เสี่ยงท้องร่วงทุกวัย
กระเช้าปีใหม่ เลือกอย่างไร ให้ดีต่อสุขภาพคนรับ article
แนะหากเครียดควรปรับทุกข์กับคนใกล้ชิด
หยุดเอดส์! ต้องมองเรื่อง 'เพศ' อย่างเข้าใจ
6 ความเชื่อผิด ๆ เรื่องสุขภาพกับหน้าหนาว
3 ประโยชน์เลิศของโยเกิร์ต ไม่ได้โม้ !
ไม่ใช่วัยรุ่น ฮอร์โมนก็ป่วนได้นะ !
นอนดึกแก่ไว เรื่องจริงไม่ได้โม้ !!
แนะวิธีเลือกซื้อนมพร้อมดื่ม ป้องกันนมบูดก่อนบริโภค
ขับไล่ความเหนื่อยล้าด้วย 7 วิธีผ่อนคลายหลังเลิกงานของสาว ๆ
ความสวยยังเพิ่มได้ แล้วความสูงเพิ่มได้ไหม ?! article
ยาลดความอ้วนสูตรค็อกเทล อย. สั่งห้ามขาย ชี้อันตรายถึงชีวิต
เบต้าแคโรทีน เพื่อหัวใจและสุขภาพที่แข็งแรง
ใส่ใจการกินสักนิด พิชิตมะเร็งเต้านม
สธ. เตือน 6 โรคหน้าหนาว ระวังดื่มเหล้าคลายหนาว อันตรายถึงชีวิต article
เตือน ! ระวังป่วยโรคปอดบวม ช่วงปลายฝนต้นหนาว article
9 สุดยอดอาหารชวนให้ สดชื่น อารมณ์ดี article
9 เมนูฮิตครองใจคนทำงาน กินแบบไหนถึงสุขภาพดี article
กินดีรักษาสิวได้ ด้วยวิธีกินรักษาสิวให้หายใน 2 สัปดาห์
10 เคล็ดลับ...หลับปุ๋ย แก้ปัญหานอนไม่หลับ
พื้นที่ส่วนตัวของผู้หญิง...เรื่อง (ไม่) ลับที่คุณต้องรู้ !
8 ประโยชน์เจ๋ง ๆ จากเปลือกผักและผลไม้
เปลี่ยนกับข้าว ให้เป็นงานอาร์ตชั้นเอก ได้สุขภาพ article
สภากาชาดขาดเลือดด่วนช่วงน้ำท่วม article
อยู่พอเพียง บริโภคพอดี’ สู่ความมั่นคงทางอาหาร
แนะ 7 ขั้นตอนล้างมืออย่างถูกวิธี
หลักออกเจอย่างถูกวิธี ทานอาหารอย่างไรดีต่อสุขภาพ
สารพัดวิธีกินผักแบบเนียน ๆ อร่อยไม่ฝืนใจแถมได้ประโยชน์
ป้องกันและดูอาการเชื้อไวรัสชนิด A สายพันธุ์ H1N1
เคล็ดลับการถนอมดวงตาให้สวยสดใส
วิธีง่าย ๆ ในการเผาผลาญแคลอรีนอกยิม
เคล็ดลับการกินเพื่อให้มีรูปร่างเหมือนนายแบบ
'ผื่นภูมิแพ้-น้ำกัดเท้า' แก้ได้...แม้ 'ฝนตก'
โปรตีนเกษตรในอาหารเจรู้ไมทำมาจากอะไร
ปราบกลิ่นเท้าให้อยู่หมัด
รักษาอาการไอแบบไม่พึ่งยา ด้วยธรรมชาติบำบัด
สาธารณสุขชี้ คนไทยเตี้ย เพราะดื่นนมน้อย
ไอนานเกิน 2 สัปดาห์ สาเหตุมาจากหลายโรค
ยุคของแพง กินอย่างไร ได้ประโยชน์และสุขภาพดี
อึ้ง ! แท็บเล็ต-สมาร์ทโฟนเชื้อโรคอื้อ มากกว่าโถชักโครก 20 เท่า
ท้องอืดท้องเฟ้อบ่อยๆ ไม่ใช่เรื่องเล่นๆ
ยิ่งเดิน ยิ่งดีต่อสุขภาพ
น้ำหนักควบคุมได้ ทำไมต้องพึ่งยาลดความอ้วน
เรื่องของยาแก้ไข้ ใช้ตัวไหนปลอดภัยที่สุด
โคเอนไซม์ คิว 10 กินกันไปทำไม?
ไข้เลือดออก โรคตัวร้ายที่มียุงลายเป็นพาหะ article
มือชา อาการไม่ธรรมดาที่อาจเกิดขึ้นกับคุณ
4 สิ่งเหล่านี้...อาจไม่ดีต่อจุดซ่อนเร้นสาว ๆ นะจ๊ะ
ดื่มซะให้สวย กับ 5 เครื่องดื่มเพื่อผิวสวยใส สุขภาพดี



แสดงความคิดเห็น
ความคิดเห็น *
ผู้แสดงความคิดเห็น  *
อีเมล 
ไม่ต้องการให้แสดงอีเมล